1. เก็บออมก่อนใช้เสมอ
“วิธีออมเ งิน” นี้เป็นวิธีที่เร าน่าจะได้ยินกันมานาน แต่รู้กันหรือไม่ว่าวิธีนี้เป็นวิธีที่ทรงพลังมากที่สุด
พี่ทุยเชื่ อว่าทุกคนน่าจะเคยเจอปัญหาประมาณว่าเหลือเงิ นอยู่ 500 บ าท
แต่ต้องใช้ชีวิตให้รอดตลอดอาทิตย์กันมาบ้ างแน่ ๆ แล้วก็เป็นอะไรที่น่าแปลก
เพร าะเร าก็มักจะรอดมาได้ทุกครั้ง เหตุผลก็เพร าะว่าคนเร ามีความสามารถในการปรับตัว
2. เก็บแบงก์ 50 และหยอดเหรียญใส่กระปุก
อีกวิธีการหนึ่งที่พี่ทุยทำแล้ว รู้ตัวอีกทีก็มีเงิ นเก็บเพิ่มขึ้นเดือนละหล ายพัน
การเก็บ ’แบงก็ 50’ และ ‘หยอดเหรียญใส่กระปุก’ หลักการก็คือ
ทุกครั้งที่เร าได้เ งินทอนกลับมาเป็น ‘แบงก์ 50’ หรือ ‘เหรียญ’
อะไรก็ตาม ห้ามใช้เด็ ดข าด! ให้เก็บกลับมาบ้ าน แล้วหยอดเข้ากระปุกทันที
จากนั้นทุกเดือนก็นำเงิ นในกระปุกนำไปใส่บัญชีธนาค ารที่เร าเปิดแยกไว้นั่นเอง
3. ทำบัญชีร ายจ่าย
จดให้หมด จดให้ครบทุกบ าททุกสตางค์ที่เร าใช้จ่ายออกไป เพื่อให้เร าเห็นภาพการใช้จ่ายของเร าในแต่วัน
แต่ละสัปดาห์ว่าเร าใช้จ่ายอะไรออกไปบ้ าง สิ่งที่น่าแปลกใจ คือ
เมื่อเร ามีการเริ่มบันทึกว่าเร าจ่ายอะไรออกไปบ้ าง เร าจะเริ่มใช้จ่ายน้อยลงไปแบบไม่รู้ตัว
แนะนำ 5 Application ที่ช่วย “จัดการร ายรับร ายจ่าย”
4. ใช้บัตรเครดิตอย่ างพอดี
ส่วนตัวพี่ทุยก็ยังมองว่า ‘บัตรเครดิต’ มีประโยช น์มากกว่าข้อเสีย
สำหรับคนที่ใช้เป็น เพร าะว่าการใช้จ่ายเงิ นสดแทบจะไม่ได้ส่วนลดหรือสิทธิพิเศษอะไรกลับมาเลย
แต่ถ้าใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตจะได้ทั้งเงิ นคืน การสะสมแต้ม ต่าง ๆ ซึ่งกฎเหล็กของการใช้ ‘บัตรเครดิต’ มีเพียงข้อเดียวเลยก็คือ..
5. ก่อนซื้อของทุกครั้งคิดอย่ างน้อย 3 วัน
คนเร ามักจะซื้อของด้วยอารมณ์ วิธีแก้ที่พี่ทุยใช้กับตัวเองและได้ผลมากเลยก็คือ
ถ้าจะซื้ออะไรที่ไม่ใช่ของที่ต้องซื้ออยู่ในชีวิตประจำอยู่แล้ว พี่ทุยจะกลับไปนอนคิดอย่ างน้อย 3 วัน
ว่าเร าต้องการของชิ้นนี้จริงหรือเปล่ า ซื้อแล้วจะได้ใช้มั้ย ถ้าได้ใช้แล้วจะได้ใช้บ่อยมากแค่ไหน
คุ้มค่ ากับการจ่ายออกไปหรือไม่ ซึ่งสิ่งที่น่าแปลกใจ คือ ตอนช่วงพี่ทุยเริ่มต้นเก็บเ งิน
หลังจากที่กลับมานอนคิดแล้ว ก็พบว่าไม่จำเป็นต้องซื้อของพวกนั้นเลย ก็จะช่วยทำให้เร ามีเงิ นเก็บมากขึ้น
ข้อมูลmoneybuffalo.