พรบ รถที่ต่อทุกปี เบิ กได้สูงสุด 3 แสนบาท
คำว่า “พ.ร.บ.” ที่เราพูดกันติ ดปาก ที่จริงแล้วคืออะไรกันแน่ เคยสงสัยกันบ้ างมั้ยครับ
“พ.ร.บ.” คือ การประกันภั ยรถยนต์ภาคบังคับ ซึ่งกฏหมายบังคับให้รถทุกคันต้องทำประกัน พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ประส บภั ยจากรถ พ.ศ. 2535
ที่กฎหมายกำหนดให้ย านพาหนะทางบกทุกประเภทที่จดทะเบี ยนกับกรมการขนส่งทางบก
ต้องทำประกันภั ยประเภทนี้เพื่อให้ความคุ้มครองกับตัวบุคคลที่ได้รับผลจากอุบั ติเ หตุ
โดยไ ม่คำนึงถึงว่าบุคคลที่ได้รับผลกระทบจากอุบั ติเ หตุเหล่านั้นจะเป็นผู้ที่กระทำความผิ ดหรือไ ม่
ซึ่งกฎหมายจะให้ความคุ้มครองต่อตัวคู่กรณีและผู้เอ าประกันเมื่อเกิ ดอุบั ติเห ตุในรูปแบบของเงิ นชดเชยและค่ารักษาพย าบ าลตามที่กฎหมายกำหนด
เพื่อนๆ เคยสงสัยเหมือนผมมั้ยครับว่า “แล้วถ้าไ ม่ซื้อ พ.ร.บ. ล่ะจะได้มั้ย”
ไ ม่ได้ครับ เพราะต้องใช้ประกอบการต่อทะเบี ยนรถยนต์ หรือ การต่อภาษีรถยนต์ประจำปี ตามที่กฏหมายบังคับให้รถทุกคันต้องทำ
โดยสามารถต่อก่อนล่ วงหน้ าได้ไ ม่เกิน 3 เดือนครับ
หากรถยนต์ของเราไ ม่มี พ.ร.บ. มีโท ษปรับไ ม่เกิน 10,000 บาท
และเจ้าของรถต้องเก็บรักษาหลักฐานการมีประกันนี้ไว้พร้อมแสดงต่อเจ้าหน้ าที่ทุกเวลาที่ใช้รถยนต์ด้วย
เราจะได้อะไรจากการซื้อ พ.ร.บ. บ้าง
พ.ร.บ. ให้ความคุ้มครองความเ สียหายที่เกิ ดขึ้นกับบุคคลเท่านั้น ไ ม่คุ้มครองความเสี ยหายอื่นใด ทั้งสิ้น
พูดง่ายๆ คือ คุ้มครอง “คน” ไ ม่คุ้มครอง “รถ” นั่นเองครับ
โดย มีวงเงิ นคุ้มครอง ดังนี้
1. ค่ารักษาพย าบาล ไ ม่เกิน 80,000 บาท ต่อคน
2. กรณีเสี ยชีวิต สูญเสี ยอวัยวะ หรือทุ พพลภาพถาวร ไ ม่เกิน 300,000 บาท ต่อคน
3. เงิ นชดเชยรายวัน (ผู้ป่ว ยใน) ไ ม่เกิน 200 บาท ต่อวัน (ระยะเวลารวมไ ม่เกิน 20 วัน)
4. วงเงิ นความคุ้มครองต่อครั้ง ไ ม่เกิน 5,000,000 บาท
เคลมง่าย เซฟขั้นตอนไว้เลยนะครับ (จะได้ไม่พลาด)
1. แจ้งความต่อเจ้าหน้ าที่ตำรวจ เพื่อลงบันทึกประจำวัน
2. เข้ารับการรักษาที่โร งพย าบาล (เมื่อการรักษาเรียบร้อยแล้ว อย่ าลืมขอเอกส ารจากโรงพย าบ าลด้วยนะ)
2.1 ใบรับรองแพทย์
2.2 ใบเสร็จรับเงิ น
3. นำส่งเอกส ารต่อบริษัท ประกันภั ยที่ซื้อ พ.ร.บ. เพื่อขอเบิกค่ารักษาพย าบาล ดังนี้
3.1 บันทึกประจำวันของเจ้าหน้ าที่ตำรวจ
3.2 ใบรับรองแพทย์
3.3 ใบเสร็จรับเงิ น
3.4 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผู้ที่ได้รับบ าดเจ็ บ
“ขับรถ ยนต์อย่ างอุ่นใ จให้ทิพยประกันภั ยเป็นเพื่อนร่วมทางด้วยนะครับ”