เมื่อวันที่ 8 พ.ค.64 นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รั ฐมนตรีว่าการกระทร วงเกษตรและสหกรณ์ เปิ ดเผยว่า
ตามการร ายงานของกรมอุตุฯ คาดว่า แร งลมมรสุ มตะวันตกเฉียงใต้ ที่เกิ ดขึ้นในปัจจุบัน
จะส่งผลให้ไทยเข้าสู้ฤดูฝนอย่ างเป็นทางการในช่วงสัปดาห์ที่ 2 ของเดือน พ.ค. นี้หรือในวันที่ 11-12 พ.ค. 2564
ดังนั้นกรมชลประทาน ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติงานจึงต้องดำเนินการเตรียมรับมืออย่ างเต็มที่
เก็บน้ำไว้ใช้ให้มากที่สุด เป้าหมายคือ ต้องมีน้ำใช้การได้รวมประมาณ 4 หมื่นล้าน ลบ.ม.
รวมทั้งต้องกำหนดพื้นที่เสี่ ยงภั ย เพื่อวางแผนช่วยเหลือเฉพาะพื้นที่ ส่วนหนึ่งเพราะสภาพภูมิอากาศ
และอากาศของแต่ละพื้นที่มีความแต กต่ างกัน จึงต้องวางแผนให้เหมาะสม เพื่อการเข้าไปช่วยเหลือย่ างมีประสิทธิภาพ
เสื้อตัวเดียว จะใส่กันทั้งประเท ศไ ม่ได้ การวางแผนอย่ างเหมาะสมจึงมีความจำเป็นแล้วทุกหน่วยงานบูรณาการร่วมกัน
เอาปัญห าต่ างๆมาเป็นตัวตั้ง ซึ่งการทำงานหลังจากนี้อย ากให้เน้นการสื่อส าร การประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนได้เข้าใจ
ในแผนงานต่ างๆที่กรมชลประทานจะเริ่มทำ จะส่งผลให้การทำงานของเร าง่ายขึ้น แม้จะเป็นช่วง CV แต่เจ้าหน้ าที่ทุกคนก็ต้องทำงานอย่ างเต็มที่
ประชาชนในพื้นที่ก็ต้องให้ความร่วมมือกับหน่วยงานภาครั ฐด้วย เพื่อให้การปริหารจัดการน้ำเป็นไปตามแผน
ทั้งนี้เพราะการที่ไทยไ ม่มีแหล่งน้ำเป็นของตนเอง ปริมาณน้ำที่มีอยู่ 100 % พึ่งพาฝนเป็นหลัก
ปริมาณฝนที่ตกทุกปีมีมากพอที่จะทำการเกษตรได้ แต่ไทยไ ม่สามารถจัดเก็บน้ำฝนได้อย่ างพอเพียง
โดยสาเหตุ เป็นเพราะ อ่างเก็บน้ำ มีไ ม่ทั่วถึง หรือฝนตกไ ม่ตรงกับพื้นที่ที่มีอ่างเก็บน้ำอยู่
ดังนั้นนายกรั ฐมนตรี จึงมีนโยบ ายให้เกษตรกรขุดสระน้ำเอาไว้รองรับน้ำฝนเพื่อเก็บไว้ใช้เอง
ถ้าไทยสามารถเก็บน้ำได้มากกว่านี้ ไ ม่ปล่อยให้น้ำฝนทิ้ งไปอย่ างเปล่าประโยชน์ ความรุ นแร งของภั ยแล้งที่เกิ ดขึ้นทุกปีก็จะบรรเทาลง
นางสาวสุกันย าณี ยะวิญชาญ รองอธิบดีกรมอุตุฯ กล่าวว่า ปริมาณน้ำฝนในปีนี้ มีแนวโน้มสูงกว่า ค่าเฉลี่ย 30 ปี
คล้ายกับสถานก ารณ์ในปี 51 ปริมาณฝนสะสมทั้งประเท ศจะมีค่ าสูงกว่าปกติ
โดยเฉพาะ เหนือและกลางบนจะมากกว่าค่ าปกติมาก ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่ าง และภาคใต้ที่ต่ำกว่าค่าปกติ
โดยฝนในกลางเดือน พ.ค.- มิ.ย. จะเพิ่มขึ้นอย่ างต่อเนื่องประมาณ 40-60 % ของพื้นที่
และตกหนักในบ างพื้นที่ยกเว้นภาคตะวันออกและภาคใต้ฝั่งตะวันตกที่มีฝน 60-80 % ของพื้นที่ กับมีฝนตกหนักหลายพื้นที่และหนักมากในบ างแห่ง
ตั้งแต่กลางเดือน ก.ค.- ก.ย. ฝนจะตกชุกหนาแน่น 60-80 % ของพื้นที่กับมีฝนหนักหลายพื้นที่และหนักมากในบ างแห่งก่อให้เกิดภาวะน้ำท่วมฉั บพลัน
น้ำป่าไหลหลากรวมทั้งน้ำล้ นตลิ่งในหลายพื้นที่ แต่ในช่วงครึ่งเดือนแรกของเดือนก.ค. ปริมาณและการกระจายของฝนจะลดลง
อาจทำให้เกิดการข าดแคลนน้ำด้านการเกษตรในบ างแห่ง
โดยเฉพาะพื้นที่แล้งซ้ำซ ากนอกเขตชลประทาน และเดือน ต.ค.
บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะมีฝนลดลงและเริ่มมีอากาศหนาวเย็นในตอนเช้า บริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคใต้
จะมีฝนตกชุกหนาแน่นต่อไป กับมีฝนตกหนักหลายพื้นที่และหนักมากในบ างแห่ง
ฤดูฝนปีนี้จะเริ่มในสัปดาห์ที่ 2 ของเดือน พ.ค. ช่วง วันที่11-12 พ.ค. นี้ และสิ้ นสุดกลางเดือน ต.ค.
คาดว่าพ ายุหมุนเขตร้อนจะเข้าสู่ประเท ศไทย 2-3 ลูก
โดยมีโอกาสสูงที่จะเคลื่อนผ่ านบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือในช่วงเดือน ส.ค. หรือ ก.ย.
นายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า กรณีสภาพฝนที่คล้ายกับปี 51 นั้น
คาดว่าจะมีพื้นที่ต้องการน้ำประมาณ 3 หมื่นล้าน ลบ.ม. แยกเป็นเพื่อการเกษตร 2.16 ล้าน ลบ.ม.
อุปโภคบริโภค 2.67 ล้าน ลบ.ม. อุตสาหกร รม 849 ล้าน ลบ.ม. และระบบนิเวศและอื่นๆ 5.2 พันล้าน ลบ.ม.
ดังนั้นกรมชลประทานจึงต้องวางแผนการใช้น้ำ ซึ่งได้เริ่มไปแล้วโดยการสนับสนุนให้พื้นที่ทุ่งบ างระกำ
ให้ทำนาปีตั้งแต่เดือน เม.ย. ที่ผ่านมาจำนวน 2.8 แสนไร่ ส่วนการทำนาปีในพื้นที่อื่นๆ
ได้สนับสนุนให้ใช้น้ำฝนเป็นหลัก โดยปริมาณน้ำฝนที่จะเกิ ดขึ้นและคล้ายกับปี 51 นั้น พบว่า ได้ส่งผลให้เกิ ดน้ำล้ นตลิ่ง ใน 32 จังหวัด
กรมชลประทานได้เตรียมพร้อมรับมือ คือวิเคร าะห์พื้นที่เ สี่ย งน้ำท่วมซ้ำซา ก พื้นที่เกษตรเสี่ ยงน้ำท่วม
กำหนดให้มีผู้รับผิ ดชอบในพื้นที่ต่างๆ ที่จะได้รับผลกระทบ รวมทั้งประสานงานกับหน่วยงานมนพื้นที่ จัดสรรทรัพย ากร
เช่นเครื่องสูบน้ำ เครื่องจักรกล รถขุด รถแทรคเตอร์ หรือเครื่องมือต่างๆที่กระจายอยู่ในแต่ละพื้นที่
ให้เพียงพอโดยเฉพาะจุดเสี่ ยงภั ยน้ำท่วม และเตรียมพร้อมใช้งานตลอดเวลาตามแผนที่วางไว้
อย่ างไรก็ต าม ฝนปี 64 เริ่มวันที่ 11-12 พ.ค.นี้ จะมีพ ายุ 2-3 ลูก น้ำมากพอควร เสี่ ยงท่วม 32 จังหวัด เตรียมรับมือ